ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

Ozone depletion

การลดลงของโอโซน (อังกฤษ: ozone depletion) คือปรากฏการณ์การลดลงของชั้นโอโซนบนชั้นบรรยากาศระดับชั้นสตราโตสเฟียร์ โดยทำการศึกษาการลดลงของชั้นโอโซนตั้งแต่ปี ค.ศ. 1970 และมีอัตราการลดลงในระดับ 4% ต่อทศวรรษ ในช่วงฤดูใบไม้ผลิจะพบว่ามีการลดลงของชั้นโอโซนมากในบริเวณขั้วโลก ลักษณะการเกิดการลดลงของชั้นโอโซน เรียกว่า หลุมโอโซน ซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดปรากฏการณ์โลกร้อน

การเกิดหลุมโอโซนจะมีความแตกต่างไปแต่ละพื้นที่ โดยพื้นแถบขั้วโลกพบว่ามีการถูกทำลายของชั้นโอโซนมากที่สุดและแตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ของค่าละติจูด สาเหตุการทำลายชั้นโอโซน นั้นเกิดจากการทำปฏิกิริยาแฮโลเจนกับแก๊สโอโซน การทำปฏิกิริยาสารทำความเย็นจำพวกแฮโลคาร์บอนหรือสาร CFC กับโอโซนในชั้นสตราโตสเฟียร์ โดยสารทั้งสองชนิดนี้เป็นสาเหตุหลักของการเกิด หลุมโอโซน แต่ก็ยังมีสาเหตุอื่นๆได้อีก เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน

สาร CFC และสารกลุ่มอื่นๆ ที่เป็นสาเหตุของการทำลายชั้นโอโซน (ozone-depleting substances, ODS) ที่เป็นชั้นที่ช่วยป้องกันรังสียูวีบี (UVB) ความยาวคลื่นที่เป็นอันตรายมากที่สุด (280-315 นาโนเมตร) ผลของรังสียูวีบีจะส่งผลต่อความหลากหลายทางชีวภาพบนโลก การเกิดโรคมะเร็งผิวหนัง ต่อกระจก และการลดลงของจำนวนแพลงก์ตอนพืชในเขต photic ของมหาสมุทร ทำให้เกิดความกังวลลดลงของโอโซนในระดับนานาชาตินำไปสู่การร่างพิธีสารมอนทรีออล ในวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2530 (1987) และเริ่มการบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2532 (1989) เป็นต้นมา ประเดนสำคัญในการบังคับใช้พิธีสารมอนทรีออล คือ เพื่อควบคุม ยับยั้ง และรณรงค์ให้ลดการผลิตและการใช้สารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน เพื่อรักษาชั้นบรรยากาศโอโซนที่เริ่มจะสูญสลายไป

โอโซน คือโมเลกุลของออกซิเจนจำนวนสามอะตอม (O3) มาทำพันธะต่อกัน แทนที่จะเป็นออกซิเจนสองอะตอม (O2) ตามปกติที่พบโดยทั่วไปบนพื้นผิวโลก แต่เมื่อโมเลกุลอออกซิเจน (O2) ได้รับรังสีจากดวงอาทิตย์ในกระบวนการโฟโตไลซิส (Photolysis) จะแตกตัวเป็นออกซิเจนสองอะตอมแล้วกลับไปรวมกันเป็นออกซิเจนสามอะตอมหรือโอโซนอีกครั้งหนึ่ง โอโซนที่เกิดขึ้นนั้นจะอยู่ในชั้นบรรยากาศสตราโตสเฟียร์ หลังจากโมเลกุลโอโซนดูดซับรังสีอัลตราไวโอเลตที่ความยาวคลื่นสั้นกว่า 240 นาโนเมตร จะแตกตัวได้โมเลกุลออกซิเจน (O2) และโมลกุลออกซิเจนที่เป็นอนุมูลอิสระ และโมเลกุลออกซิเจนอนุมูลอิสระจะไปรวมกับโมเลกุลออกซิเจน (O2) กลับมาเป็นโอโซนดังเดิม กระบวนการดูดซับพลังงานของโอโซนเป็นกระบวนการสำคัญที่ช่วยป้องกันโลกจะรังสีรังสีอัลตราไวโอเลตหรือรังสียูวี แต่เมือโอโซนได้รับโมเลกุลออกซิเจนอิสระก็จะสร้างพันธะเคมีใหม่ได้เป็น โมเลกุลออกซิเจน (O2) สองโมเลกุล ดังสมการเคมีต่อไปนี้

ความสมดุลของโอโซนในชั้นสตราโตสเฟียร์จะถูกกำหนดโดยอัตราการเกิดโอโซนในธรรมชาติและอัตราการทำลายโอโซน โอโซนสามารถถูกทำลายได้โดยเกิดปฏิกิริยากับสารจำพวกอนุมูลอิสระเช่น กลุ่มไฮดรอกซิลที่รุนแรง (HOx) กลุ่มไนตริก (NOx) กลุ่มคลอรีน (Clx) และกลุ่มโบรมีน (Brx) ซึ่งสารทั้งหมดที่กล่าวมาเป็นสารเคมีที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ที่ส่งผลต่อโอโซนในชั้นสตราโตสเฟียร์ แต่การเพิ่มขึ้นของอุตสาหกรรมต่างๆ ในโลกทำให้มีการใช้สารเคมีกลุ่มที่ทำลายโอโซนมากขึ้นโดยเฉพาะสารคลอรีน (Cl) และโบรมีน (Br) ที่จะเป็นองค์ประกอบของสารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า “CFCs” เป็นสารที่มีคุณสมบัติในการดูดความเย็นและมีอายุยืนยาวสลายตัวยาก CFCs เป็นสารที่มนุษย์สังเคราะห์ขึ้นเพื่อใช้งานในโรงงานอุตสาหกรรมและอุปกรณ์ทำความเย็น เช่น ตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ และสเปรย์

อะตอมคลอรีนและโบรมีนสามารถเข้าทำลายโมเลกุลโอโซนได้โดยง่ายที่อาศัยปัจจัยในสิ่งแวลล้อมเข้าช่วยนั้นคือ รังสียูวี รังสียูวีจะทำให้โมเลกุลของคลอรีนแตกตัวเป็นคลอรีนอิสระซึ่งสามารถทำลายโมลเลกุลของโอโซนได้ดีมาก โดยหนึ่งโมเลกุลคลอรีนสารมาทำลายโมเลกุลโอโซนได้หลายพันโมเลกุล ดังสมการต่อไปนี้

การลดลงของโอโซนที่สามารถเห็นได้ชัดเจนที่ชั้นบรรยากาศสตราโตสเฟียร์ระดับต่ำ อย่างไรก็ตามการวัดการเกิดหลุมโอโซนไม่ใช้การวัดในแง่ของความเข้มข้นของโมเลกุลโอโซนที่อยู่บริเวณนั้น (ซึ่งโดยทั่วไปแล้วโมเลกุลของโอโซนมีจำนวนน้อยมาก) จึงใช้การวัดการลดลงของโอโซนในระดับคอลัมน์ในหน่วยด็อบสันโดยย่อว่า "DU" การศึกษาการลดลงของโอโซนในชั้นบรรยากาศเริ่มทำการศึกษา ณ ทวีปแอนตาร์กติกาในช่วงฤดูใบไม้ผลิ ปี ค.ศ.1970 โดยใช้เครื่องมือที่เรียกกว่า Total Ozone Mapping Spectrometer (TOMS)

หลุมโอโซนบริเวณทวีปแอนตาร์กติกา ณ ชั้นบรรยากาศสตราโตสเฟียร์ระดับต่ำระดับของโอโซนได้ลดลง 33% จากการวัดครั้งแรกในปี ค.ศ. 1975 หลุมโอโซนเกิดขึ้นในช่วงฤดูใบไม้ผลิ ณ ทวีปแอนตาร์กติกาในช่วงเดือนกันยายนถึงต้นเดือนธันวาคม เกิดลมทิศตะวันตกกำลังแรงพัดหมุนเวียนทั่วทวีปและสร้างความปั่นป่วนในชั้นบรรยากาศ การทำลายโอโซนในแต่ละปีนั้นพบว่า 50% เกิดในช่วงฤดูใบไม้ผลิของทวีปแอนตาร์กติกา

ตามที่กล่าวในข้างต้น สาเหตุหลักของการสูญเสียโอโซนคือการเข้าทำลายของก๊าซเรือนกระจก (สาร CFC เป็นหลักและแฮโลคาร์บอนที่เกี่ยวข้อง) เมื่อมีรังสียูวีจากอวกาศผ่านเข้ามาจะส่งผลให้ก๊าซเรือนกระจกปล่อยอะตอมคลอรีนอิสระออกมา แล้วอะตอมคลอรีนอิสระจะเข้าทำลายโอโซน ปัจจัยที่สำคัญในการพาก๊าซเรือนกระจกไปสู่ชั้นบรรยากาศคือ การเกิดของเมฆสตราโตสเฟียร์บริเวณขั้วโลกหรือ Polar Stratospheric Clouds (PSC) ซึ่งเป็นตัวการสำคัญในการนำสารประกอบ CFCs ไปสู่บรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์ ถึงแม้อัตราการลดลงจะรุนแรงน้อยกว่าในขั้วโลกใต้แต่มีความสำคัญมากเพราะว่าเป็นที่อยู่อาศัยของประชากรส่วนใหญ่ เพราะการเพิ่มขึ้นของรังสียูวี ที่ตรวจพบนั้นสัมพันธ์กับการลดลงของโอโซนอย่างเห็นได้ชัด

เมฆสตราโตสเฟียร์บริเวณขั้วโลกหรือ Polar Stratospheric Clouds (PSC) จะเกิดมากในช่วงที่มีอากาศเย็นจัด เพราะในช่วงฤดูหนาวในขั้วโลกใต้กินระยะเวลานาน 3 เดือน ทำให้ไม่ได้รับรังสีจากดวงอาทิตย์ การขาดความร้อนจากดวงอาทิตย์ก่อให้เกิดการลดลงของอุณหภูมิและเกิดกระแสน้ำเย็นวนแถบขั้วโลกซึ่งอาจมีอุณหภูมิ -80 องศาเซลเซียส ทำให้เกิดอนุภาคที่มีผลเร่งปฏิกิริยาการทำลายโอโซน เมฆที่มีสาร PSC เป็นส่วนประกอบ เป็นเมฆมีการระบายความร้อนได้ดีจนเป็นเมฆน้ำแข็งและเย็นเป็นก้อนน้ำแข็งอย่างรวดเร็วนำไปสู่การเร่งปฏิกิริยาการทำลายโอโซนในชั้นบรรยากาศ

โอโซนในชั้นบรรยากาศจะช่วยดูซับรังสี UVB เมื่อมีการลดลงของโอโซนทำให้ปริมาณรังสี UV-B มีมากขึ้น ซึ่งนำไปสู่ความเสียหายเป็นสาเหตุของการเกิดโรคมะเร็งผิวหนัง (Skin cancer) เหล่านี้เป็นเหตุผลให้มีการบังคับใช้พิธีสารมอนทรีออล แม้ว่าจะเป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าการลดลงของโอโซนเกิดจาก สาร CFCs เป็นหลัก แต่ก็ยังไม่มีหลักฐานที่แน่ชัดว่าการลดลงของโอโซนเป็นผลทำให้เกิดโรงมะเร็งผิวหนังและโรคทางตาในมนุษย์ หรืออาจการได้รับรังสี UVA ซึ่งเป็นรังสีที่ไม่ถูกดูดซับโดยโอโซน ดังนั้นสาเหตุของการเกิดโรงมะเร็งผิวหนังและโรงความผิดปกติทางตาในมนุษย์ไม่ใช้เกิดจากรังสี UVB อยางเดียวแต่อาจจากสาเหตุอื่นด้วย

ในขณะที่มีการร่างกฎหมายในการลดการทำลายโอโซน แต่จำนวนโอโซนที่ลดลงในแต่ละวันก็ส่งผลให้ปริมาณรังสี UV เพิ่มขึ้นตามไปด้วย รังสี UV ทั้งสามชนิดคือ UVA, UVB และ UVC สามารถทำให้คอลลาเจนในผิวหนังเสื่อมสภาพได้ ซึ่งเป็นเหตุหนึ่งให้เกิดริ้วรอยก่อนวัย แต่ UVA มีความรุนแรงน้อยที่สุด เพราะไม่สามารถก่อให้เกิดอาการแดดเผา (sunburn) ทว่ายังน่ากลัวอยู่ที่สามารถแปลงสภาพ DNA ได้ จนอาจก่อให้เกิดมะเร็งผิวหนัง แต่ร่างกายก็สามารถป้องกันได้ โดยสร้างเม็ดสีเมลานินขึ้นมา เพื่อป้องกันการทะลวงของยูวี จึงทำให้ผิวคล้ำดำมากขึ้น นอกจากผิวหนังแล้ว ยูวียังเป็นอันตรายต่อดวงตา โดยเฉพาะ UVB ทำให้เกิดอาการที่เรียกว่า arc eye คือรู้สึกเหมือนมีทรายเข้าตา หรือถ้ารุนแรงกว่านั้นอาจทำให้เป็นโรคต้อกระจก (cataract) ได้ โดยเฉพาะในหมู่ช่างเชื่อมโลหะ การป้องกันก็คือ สวมใส่แว่นป้องกัน หรือทาโลชั่นที่มีค่า SPF 50+

ความกังวลของประชาชนเกี่ยวกับการลดลงของโอโซนที่จะได้รับผลกระทบจากการรังสี UV ที่เพิ่มจะมีต่อสุขภาพของมนุษย์ แต่จากหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ไม่พบว่าการอยู่บริเวณเส้นรุ้งมากจะได้รับผลกระทบจากการลดลงของโอโซน ในบ้างครั้งการเกิดหลุมโอโซนอาจกินพื้นที่กว้างมากครอบคลุมทั้ง ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ชิลี อาร์เจนตินา และแอฟริกาใต้ ทำให้เกิดความกังวลต่อผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมในประเทศเหล่านี้ การลดลงของโอโซนมีผลกระทบต่อมนุษย์ทั้งด้านบวกและด้านลบ ในด้านบวกรังสี UVB มีผลช่วยให้ร่างกายของมนุษย์สามารถสร้างวิตามินดีได้ ในด้านลบก็อาจทำให้เป็นโรงมะเร็งผิวหนังหรือโรคทางสายตาอื่นๆ ได้


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เบอร์ลินตะวันออก ประเทศเยอรมนีตะวันออก ปฏิทินฮิบรู เจ้า โย่วถิง ดาบมังกรหยก สตรอเบอร์รี ไทยพาณิชย์ เคน ธีรเดช อุรัสยา เสปอร์บันด์ พรุ่งนี้ฉันจะรักคุณ ตะวันทอแสง รัก 7 ปี ดี 7 หน มอร์ มิวสิค วงทู อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป รุ่น 2 เธอกับฉัน เป๊ปซี่ น้ำอัดลม แยม ผ้าอ้อม ชัชชัย สุขขาวดี ประชากรศาสตร์สิงคโปร์ โนโลโก้ นายแบบ จารุจินต์ นภีตะภัฏ ยัน ฟัน เดอร์ไฮเดิน พระเจ้าอาฟงซูที่ 6 แห่งโปรตุเกส บังทันบอยส์ เฟย์ ฟาง แก้ว ธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์ เอ็มมี รอสซัม หยาง มี่ ศรัณยู วินัยพานิช เจนนิเฟอร์ ฮัดสัน เค็นอิชิ ซุซุมุระ พอล วอล์กเกอร์ แอนดรูว์ บิ๊กส์ ฮันส์ ซิมเมอร์ แบร์รี ไวต์ สตาญิสวัฟ แลม เดสมอนด์ เลเวลีน หลุยส์ที่ 4 แกรนด์ดยุคแห่งเฮสส์และไรน์ กีโยม เลอ ฌ็องตี ลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ มาตราริกเตอร์ วงจรรวม แจ็ก คิลบี ซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์) เรอัลเบติส เฮนรี ฮัดสัน แคว้นอารากอง ตุ๊กกี้ ชิงร้อยชิงล้าน กันต์ กันตถาวร เอก ฮิมสกุล ปัญญา นิรันดร์กุล แฟนพันธุ์แท้ 2014 แฟนพันธุ์แท้ 2013 แฟนพันธุ์แท้ 2012 แฟนพันธุ์แท้ 2008 แฟนพันธุ์แท้ 2007 แฟนพันธุ์แท้ 2006 แฟนพันธุ์แท้ 2005 แฟนพันธุ์แท้ 2004 แฟนพันธุ์แท้ 2003 แฟนพันธุ์แท้ 2002 แฟนพันธุ์แท้ 2001 แฟนพันธุ์แท้ 2000 บัวชมพู ฟอร์ด ซาซ่า เดอะแบนด์ไทยแลนด์ แฟนพันธุ์แท้ปี 2015 แฟนพันธุ์แท้ปี 2014 แฟนพันธุ์แท้ปี 2013 แฟนพันธุ์แท้ปี 2012 ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ พรสวรรค์ บันดาลชีวิต บุปผาราตรี เฟส 2 โมเดิร์นไนน์ ทีวี บุปผาราตรี ไฟว์ไลฟ์ แฟนพันธุ์แท้ รางวัลนาฏราช นักจัดรายการวิทยุ สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 แบร์นาร์แห่งแกลร์โว กาอึน จิรายุทธ ผโลประการ อัลบาโร เนเกรโด ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ แอนดรูว์ การ์ฟิลด์ เอมี่ อดัมส์ ทรงยศ สุขมากอนันต์ ดอน คิง สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต) สาธารณรัฐเอสโตเนีย สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย เน็ตไอดอล เอะโระเก คอสเพลย์ เอวีไอดอล ช็อคโกบอล มุกะอิ

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23301